Businesses, for-profit and nonprofit, are facing change like never before. Numerous driving forces to this change included a rapidly expanding marketplace (globalization), and increasing competition, diversity among consumers, and availability to new forms of technology. Creativity and innovation are often key to the success of a business, particularly when strategizing during strategic planning, and when designing new products and services. Creative thinking and innovation are particularly useful during Strategic Planning (when strategizing) and in Product and Service Management (when designing new products and services.) (The library includes many areas of information related to creativity.)
ธุรกิจ, ผลกำไรและไม่แสวงหาผลกำไรสำหรับ, กำลังเผชิญการเปลี่ยนแปลงอย่างที่ไม่เคยมาก่อน พลังขับรถจำนวนมากเพื่อการเปลี่ยนแปลงนี้รวมตลาดที่กำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว (โลกาภิวัตน์) และการแข่งขันเพิ่มความหลากหลายของผู้บริโภคและความพร้อมเพื่อรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมมักจะมีกุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ strategizing ในระหว่างการวางแผนเชิงกลยุทธ์และเมื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่มีประโยชน์โดยเฉพาะในช่วงการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (เมื่อ strategizing) และในสินค้าและบริการจัดการ (เมื่อมีการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ .) (ห้องสมุดรวมถึงหลายพื้นที่ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์.)
วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553
การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์
ในยุคสารสนเทศ (Information age) นี้ ข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกคนสามารถเสาะแสวงหาหรือในทางกลับกัน ก็สามารถเผยแพร่ให้บุคคล ทั่วไปได้รับทราบถึงข้อมูล ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อวงการต่างๆ อย่างกว้างขวาง การส่งและการรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นภาษาไทยนับว่ามีความสำคัญต่อทุกวงการ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการหรือด้านธุรกิจทั้งนี้เพื่อจะได้ติดต่อสื่อสารกันด้วยความสะดวกโดยไม่จำกัดเพศ หรือการศึกษา โดยใช้ภาษาไทยเป็นสื่อกลางในการติดต่อ
เมื่อคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการศึกษาและการประกอบอาชีพมากขึ้น ความต้องการที่จะทำให้คอมพิวเตอร์แสดงผลภาษาไทยไปจนถึงสามารถเข้าใจภาษาไทย และโต้ตอบด้วยภาษาไทยได้ก็เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ในบทนี้จึงได้นำเสนอความรู้เรื่องการประมวลผล และการประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ นับตั้งแต่เรื่องการประมวลผลอักขระ (Character processing)การประมวลผลคำ (Word processing) การประมวลผลข้อความ (Text processing) ไปจนถึงการประมวลผลภาพ (Image processing) ของภาษาไทย เพื่อเป็นความรู้เบื้องต้นในการเรียนรู้เรื่องนี้
เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการรับข้อมูล แสดงผลข้อมูล และพิมพ์ข้อมูลมากขึ้น จนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของคนในยุคสารสนเทศนี้ การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์จึงได้รับการทำวิจัยและพัฒนาให้สามารถประมวลผลบนคอมพิวเตอร์ได้ด้วยวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์(Computer Engineering) ผสมผสานกับเทคโนโลยีทางด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติ(Natural Language Processing) ทางด้านการประมวลผลภาพ (Image Processing) และความรู้ทางภาษาศาสตร์ (Linguistics) ด้วยความหวังว่าจะสามารถทำวิจัยและพัฒนาโปรแกรม เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจภาษาไทยด้วยฐานความรู้ภาษาไทยทั้งด้านอักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์อรรถศาสตร์ รวมทั้งฉันทลักษณ์ได้
ทวีศักดิ์ กออนันตกูล (๒๕๓๔) ได้เขียนไว้ใน คอมพิวเตอร์กับภาษาไทย : การพัฒนามาตรฐานเบื้องต้นสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยเรื่องการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับภาษาไทยทั้งทางด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์ และยังได้แสดงให้เห็นแผนผังภาพรวมของการศึกษาวิจัยทางภาษาไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ แกน คือ แกนนอนเป็นการแจกแจงความเป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ส่วนแกนตั้ง เป็นความนึกคิดส่วนผิวและส่วนลึก(ดูแผนผัง ๑ ประกอบ) ดังนั้น การที่จะทำให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้ภาษาไทยได้ทุกศาสตร์และสาขาวิชาตามนี้ ก็ยังคงต้องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มขึ้นอีกมาก เพื่อที่จะได้โยงศาสตร์ ๒ ศาสตร์นี้เข้าด้วยกัน
เมื่อได้รวบรวมผลงานวิจัยและพัฒนาเท่าที่ผ่านมา ก็พบว่า มีอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ และนักวิจัยทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน ได้สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าทำวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการประมวลผลภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวาง เพื่อให้ผู้ใช้คนไทยสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งหมายรวมตั้งแต่การประมวลผลอักขระ คำข้อความ ไปจนถึงการประมวผลภาพภาษาไทยในบทนี้จะอธิบายโปรแกรมการประมวลผลบางโปรแกรม เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานให้สามารถเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโปรแกรมเหล่านี้ ได้แก่ โปรแกรมการเรียงลำดับคำไทย โปรแกรมตัดคำภาษาไทยโปรแกรมการสืบค้นคำไทย โปรแกรมการสืบค้นคำไทยตามเสียงอ่าน โปรแกรมแปลภาษาและโปรแกรมรู้จำอักขระไทยด้วยแสง เป็นต้น
ในยุคสารสนเทศ (Information age) นี้ ข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกคนสามารถเสาะแสวงหาหรือในทางกลับกัน ก็สามารถเผยแพร่ให้บุคคล ทั่วไปได้รับทราบถึงข้อมูล ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อวงการต่างๆ อย่างกว้างขวาง การส่งและการรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นภาษาไทยนับว่ามีความสำคัญต่อทุกวงการ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการหรือด้านธุรกิจทั้งนี้เพื่อจะได้ติดต่อสื่อสารกันด้วยความสะดวกโดยไม่จำกัดเพศ หรือการศึกษา โดยใช้ภาษาไทยเป็นสื่อกลางในการติดต่อ
เมื่อคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการศึกษาและการประกอบอาชีพมากขึ้น ความต้องการที่จะทำให้คอมพิวเตอร์แสดงผลภาษาไทยไปจนถึงสามารถเข้าใจภาษาไทย และโต้ตอบด้วยภาษาไทยได้ก็เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ในบทนี้จึงได้นำเสนอความรู้เรื่องการประมวลผล และการประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ นับตั้งแต่เรื่องการประมวลผลอักขระ (Character processing)การประมวลผลคำ (Word processing) การประมวลผลข้อความ (Text processing) ไปจนถึงการประมวลผลภาพ (Image processing) ของภาษาไทย เพื่อเป็นความรู้เบื้องต้นในการเรียนรู้เรื่องนี้
เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการรับข้อมูล แสดงผลข้อมูล และพิมพ์ข้อมูลมากขึ้น จนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของคนในยุคสารสนเทศนี้ การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์จึงได้รับการทำวิจัยและพัฒนาให้สามารถประมวลผลบนคอมพิวเตอร์ได้ด้วยวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์(Computer Engineering) ผสมผสานกับเทคโนโลยีทางด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติ(Natural Language Processing) ทางด้านการประมวลผลภาพ (Image Processing) และความรู้ทางภาษาศาสตร์ (Linguistics) ด้วยความหวังว่าจะสามารถทำวิจัยและพัฒนาโปรแกรม เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจภาษาไทยด้วยฐานความรู้ภาษาไทยทั้งด้านอักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์อรรถศาสตร์ รวมทั้งฉันทลักษณ์ได้
ทวีศักดิ์ กออนันตกูล (๒๕๓๔) ได้เขียนไว้ใน คอมพิวเตอร์กับภาษาไทย : การพัฒนามาตรฐานเบื้องต้นสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยเรื่องการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับภาษาไทยทั้งทางด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์ และยังได้แสดงให้เห็นแผนผังภาพรวมของการศึกษาวิจัยทางภาษาไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ แกน คือ แกนนอนเป็นการแจกแจงความเป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ส่วนแกนตั้ง เป็นความนึกคิดส่วนผิวและส่วนลึก(ดูแผนผัง ๑ ประกอบ) ดังนั้น การที่จะทำให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้ภาษาไทยได้ทุกศาสตร์และสาขาวิชาตามนี้ ก็ยังคงต้องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มขึ้นอีกมาก เพื่อที่จะได้โยงศาสตร์ ๒ ศาสตร์นี้เข้าด้วยกัน
เมื่อได้รวบรวมผลงานวิจัยและพัฒนาเท่าที่ผ่านมา ก็พบว่า มีอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ และนักวิจัยทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน ได้สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าทำวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการประมวลผลภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวาง เพื่อให้ผู้ใช้คนไทยสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งหมายรวมตั้งแต่การประมวลผลอักขระ คำข้อความ ไปจนถึงการประมวผลภาพภาษาไทยในบทนี้จะอธิบายโปรแกรมการประมวลผลบางโปรแกรม เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานให้สามารถเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโปรแกรมเหล่านี้ ได้แก่ โปรแกรมการเรียงลำดับคำไทย โปรแกรมตัดคำภาษาไทยโปรแกรมการสืบค้นคำไทย โปรแกรมการสืบค้นคำไทยตามเสียงอ่าน โปรแกรมแปลภาษาและโปรแกรมรู้จำอักขระไทยด้วยแสง เป็นต้น
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับเศรฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาสสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานนี้ การดำเนืนชีวิตที่ยึดเส้นทางสายกลางคือความพอดี ความพอเพียงในการดำเนินชีวิตประกอบด้วยหลักสำคัญ 6 ประการ
1.ความพอดีทางด้านจิตใจ
2.ความอพดีทางด้านสังคม
3.ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4.ความพอดีและพอเพียงทางด้านการศึกษา
5.ความพอเพียงด้านเทคโนโลยีและเงินทุน
6.ความอพเพียงด้านเศรษฐกิจ
หลักธรรมาภิบาล
คือการปกครอง การบริหารการจัดการควบคุมดูแลกิจการต่างๆให้เป็นไปในครรลองธรรม นอ กจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดีซงสามารถนำไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน
1.หลักคุณธรรม
2.หลักนิติธรรม
3.หลักความโปร่งใส
4.หลักความมีส่วนร่วม
5.หลักความรับผิดชอบ
6.หลักความคุ้มค่า
1.ความพอดีทางด้านจิตใจ
2.ความอพดีทางด้านสังคม
3.ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4.ความพอดีและพอเพียงทางด้านการศึกษา
5.ความพอเพียงด้านเทคโนโลยีและเงินทุน
6.ความอพเพียงด้านเศรษฐกิจ
หลักธรรมาภิบาล
คือการปกครอง การบริหารการจัดการควบคุมดูแลกิจการต่างๆให้เป็นไปในครรลองธรรม นอ กจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดีซงสามารถนำไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน
1.หลักคุณธรรม
2.หลักนิติธรรม
3.หลักความโปร่งใส
4.หลักความมีส่วนร่วม
5.หลักความรับผิดชอบ
6.หลักความคุ้มค่า
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)